'10 ข้อต้องรู้' การเอาตัวรอดเบื้องต้นขณะเกิดเพลิงไหม้!
July 8, 2024
by
Administrator 2
'10 ข้อต้องรู้' การเอาตัวรอดเบื้องต้นขณะเกิดเพลิงไหม้!
นินนินขอแชร์ 10 ข้อต้องรู้ การเอาตัวรอดเบื้องต้นขณะเกิดเพลิงไหม้ เผื่อไว้ในกรณีฉุกเฉิน แม้ไม่เกิดกับตัวเรา แต่เราอาจเป็นคนหนึ่งที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่นที่ประสบภัยครับ
1. อย่างแรกเลยคือเราต้อง “พยายาม” มีสติ ให้ได้ เมื่อรู้ตัวว่าไฟไหม้ หยุดทำกิจกรรมทุกชนิด รีบเอาตัวออกจากที่เกิดเหตุให้เร็วที่สุดโดยไม่ต้องพะวงข้างของเครื่องใช้ใด ๆ เพราะชีวิตของเราสำคัญที่สุด
7. หนีมาที่บันไดหนีไฟได้แล้ว ให้ปิดประตูตามหลังทันที (หากไม่มีใครตามมาข้างหลัง) อย่าเปิดอ้าทิ้งไว้ จะได้กันไฟและควันอาจไหลตามออกมาที่ทางเดินหนีไฟ เดินลงบันไดหนีไฟกันอย่างเป็นระเบียบ ค่อยๆ ตามกันไป อย่าเบียด อย่าดัน ประตูบันไดหนีไฟถูกออกแบบให้มีผนังที่มีฉนวนกันไฟ โดยมากจะสามารถทนไฟไหม้ได้ราว 2 ชั่วโมง
หมวดที่ 1 อัคคีภัย : คุ้มครองเรื่องไฟไหม้, ฟ้าผ่า, ภัยจากระเบิด, ภัยจากการเฉี่ยว-ชนจากยวดยานพาหนะ (เช่นเกิดเหตุรถพุ่งชนบ้าน ดูไกลตัว แต่มีข่าวออกมาให้เห็นอยู่เป็นระยะๆ ที่มีรถเสียหลักหรือมีอุบัติเหตุควบคุมไม่ได้ พุ่งเข้าชนบ้าน), ภัยอากาศยาน, ภัยจากควัน, ภัยเนื่องจากน้ำ ไม่รวมน้ำท่วม (ส่วนนี้หมายถึงกรณีที่ฝนตกสาด, น้ำรั่วทั้งจากธรรมชาติ หรือจากอุบัติเหตุ ลองนึกภาพตามว่าเราเองก็อาจเสียเงินซ่อมฝ้า-พื้นไม้ปาร์เก้สวยๆ ได้ หากน้ำรั่ว)
หมวดที่ 2 โจรกรรม : คุ้มครองจากเหตุลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ที่ปรากฎร่องรอยงัดแงะ โดยให้ความคุ้มครองแก่ความสูญสียหรือเสียหายต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยที่เก็บอยู่ภายในอาคารสิ่งปลูกสร้าง รวมไปถึงความเสียหายต่ออาคาร สิ่งปลูกสร้าง ประตู-หน้าต่าง ซึ่งเก็บทรัพย์สินที่เอาประกันภัย และค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนอุปกรณ์ล็อคและกุญแจ ใครที่เป็นห่วงข้าวของเครื่องใช้ หรือต้องทิ้งบ้านเอาไว้นานๆ แล้วละก็ หากมีประกันส่วนนี้ไว้ก็ช่วยให้อุ่นใจได้มากขึ้นนะครับ
หมวดที่ 3 กระจก : คุ้มครองการแตกเสียหายของกระจกที่ติดตั้งตรึงตราเป็นส่วนหนึ่งของตัวอาคาร-สิ่งปลูกสร้าง (ยกเว้นกระจกเงา กระจกตู้โชว์-ชั้นวางของ) ยกตัวอย่างอีกหนึ่งเหตุการณ์ช่วงปีที่แล้ว ที่เกิดเหตุโรงงานโฟมระเบิดทำให้หมู่บ้านในบริเวณใกล้เคียงได้รับผลกระทบ โดยแรงระเบิดทำให้บ้าน-อาคารกระจกแตก หรือฝ้าถล่มลงมา ใส่ส่วนของกระจกบ้านหากทำประกันเอาไว้ก็ได้รับความคุ้มครองส่วนนี้ครับ
หมวดที่ 4 ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก : เป็นส่วนความรับผิดตามกฎหมาย กรณีการเสียชีวิต บาดเจ็บหรือเจ็บป่วย ความสูญเสียหรือเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ที่เกิดขึ้นภายในสถานที่หรือบ้านที่ทำประกันภัย
หมวดที่ 5 อุบัติเหตุส่วนบุคคล (อบ.2) : คุ้มครองการเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ สายตา การรับฟัง การพูดออกเสียงหรือทุพพลภาพถาวร
ข้อที่ 4 และ 5 นั้นเป็นความสูญเสียต่อบุคคลที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้นอย่างแน่นอนทั้งเจ้าบ้านหรือแขกผู้มาเยือน แต่เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินหรือสถานการณ์ที่คับขันก็ยากต่อการควบคุมสถานการณ์และเรื่องความปลอดภัย
การเริ่มทำประกันบ้านซึ่งเป็นทรัพย์สินที่มีมูลค่าสูงนั้น มีทั้งแพ็คเกจมาตรฐานให้พิจารณาได้เบื้องต้นและการซื้อความคุ้มครองเพิ่มเพื่อให้เหมาะสมกับมูลค่าของทรัพย์สิน ซึ่งเจ้าของบ้านหรือผู้ที่สนใจทำประกันสามารถศึกษาข้อมูลหรือปรึกษาเจ้าหน้าที่เพื่อให้แนะนำความคุ้มครองและเงื่อนไขที่อยู่ภายใต้กรมธรรม์
ทั้งนี้ การประเมินทุนประกันขึ้นอยู่กับเรื่องพื้นที่ของตัวบ้าน-อาคาร, วัสดุที่ใช้ก่อสร้าง, อายุของสิ่งปลูกสร้าง รวมไปถึงพื้นที่หรือบริเวณของที่อยู่อาศัย ฯลฯ ประกันที่พักอาศัยนั้นเบี้ยประกันภัยที่ต้องชำระต่อปีเริ่มต้นเพียงหลักพันเท่านั้น แต่ให้ความคุ้มครองหลักแสน-ล้านบาทเพื่อดูแลบ้านที่มาจากน้ำพักน้ำแรงของเรา หากใครที่กำลังมองหาประกันบ้านแล้วละก็ ลองพิจารณาดูก็ไม่เสียหาย
รายละเอียดเพิ่มเติมเรื่องความคุ้มครองหรือเงื่อนไขการทำประกันภัยแบบครบวงจร สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ช่องทางการติดต่อ Facebook page: TT Insurance Broker, Line official : @TTIB, www.ttib.co.th หรือ หมายเลขโทรศัพท์ 02-248-4848 วันจันทร์-ศุกร์ ในเวลาทำการ 08.30-17.00 น. เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินเบื้องต้นให้ครับ
ที่มาข้อมูล สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)